P-สัตว์น้า สวยงาม (6/10/2553)-1/4
มาตรฐานสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้าเพื่อการส่งออก เพื่อการตรวจประเมินสุขอนามัยสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า (สพอ.)/สถานที่รวบรวมสัตว์น้า (สรอ.) ตามระเบียบกรมประมงว่าด้วยการขึ้นทะเบียนสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและสถานรวบรวมสัตว์น้าสาหรับส่งออกเพื่อการเพาะเลี้ยง พ.ศ. 2547 และระเบียบกรมประมงว่าด้วยการขึ้นทะเบียนสถานที่และรับรองสุขอนามัยสัตว์น้าเพื่อการบริโภค พ.ศ. 2546
คานิยาม สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า หมายถึง สถานที่เพาะพันธุ์สัตว์น้า สถานที่อนุบาลสัตว์น้าหรือสถานที่เลี้ยงสัตว์น้า ไม่ว่าสัตว์น้านั้น จะมาจากการเพาะพันธุ์ หรือมาจากแหล่งธรรมชาติ
คานิยาม สถานที่รวบรวมสัตว์น้า หมายถึงสถานที่พัก รวบรวม หรือบรรจุสัตว์น้า เพื่อการจาหน่ายสัตว์น้านั้นต่อไป ทั้งนี้ไม่ว่าสัตว์น้านั้นจะมาจากการเพาะเลี้ยงหรือมาจากแหล่งธรรมชาติ
1. สภาพแวดล้อมทั่วไปของสถานประกอบการ
1.1 สถานประกอบการควรมีขอบเขตที่ชัดเจน มีรั้วรอบขอบชิดและมีหลังคาหรือวัสดุคลุมบ่อสามารถป้องกันสัตว์อื่นๆที่อาจเป็นพาหะของโรคผ่านเข้าออกได้
1.2 การจัดแบ่งส่วนที่พักอาศัย ห้องอาหาร และห้องสุขา
1.2.1 กรณีสถานที่เพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้าเพื่อการเพาะเลี้ยง ที่พักอาศัย ห้องอาหาร และห้องสุขาควรแยกส่วนจากบริเวณเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้า หรือหากไม่แยกบริเวณดังกล่าวควรมีความเป็นสัดส่วนไม่เป็นแหล่งเพาะเชื้อได้
1.2.2* กรณีสัตว์น้าเพาะเลี้ยง/รวบรวมเพื่อการบริโภค ที่พักอาศัย ห้องอาหาร และห้องสุขาต้องแยกออกจากบริเวณที่เพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้า โดยเด็ดขาด
1.3 สถานที่/บริเวณที่เพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้า ไม่ควรมีสัตว์เลี้ยงชนิดอื่น ๆที่ไม่ใช่สัตว์น้า หรือหากมีสัตว์เลี้ยงให้แยกเลี้ยงและมีบริเวณที่กักขังให้ชัดเจน เพื่อป้องกันสัตว์เลี้ยงเข้ามาในบริเวณเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้าซึ่งอาจเป็นสาเหตุนาพาโรคได้
2. แหล่งน้าสาหรับการเพาะเลี้ยง/รวบรวม
2.1 แหล่งน้าธรรมชาติ
การเตรียมน้าก่อนใช้
2.1.1 ฟาร์มควรมีบ่อพักน้าสาหรับใช้ในการเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้าโดยมีปริมาตรรองรับน้าได้มากกว่า 20% ของปริมาตรบ่อหรือตู้เพาะเลี้ยง/รวบรวมทั้งหมด
2.1.2 การฆ่าเชื้อในน้า น้าที่ใช้เพื่อการเพาะเลี้ยง/รวบรวมควรมีระบบฆ่าเชื้อที่เหมาะสม เช่นการฆ่าเชื้อด้วยโอโซน หรือแสงยูวี หรือการใช้สารเคมีบาบัด เช่น บีเคซี โพวิโดน ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ คลอรีน เป็นต้น (ภาคผนวก)
2.2 แหล่งน้าบาดาล ควรมีการพักน้าและเพิ่มอากาศอย่างเพียงพอและสม่าเสมอก่อนนามาใช้
P-สัตว์น้า สวยงาม (6/10/2553)-2/4
2.3 แหล่งน้าประปา มีการพักน้าหรือกรองน้าเพื่อกาจัดคลอรีนและเพิ่มออกซิเจนในน้าอย่างเพียงพอ ก่อนนามาใช้ ปริมาตรเครื่องกรองเหมาะสมกับปริมาณน้าที่ใช้ในแต่ละวัน และทาความสะอาดไส้กรองสม่าเสมอ
2.4 น้าฝน มีการพักน้าอย่างน้อย 7 วันและมีการตรวจความเป็นกรด-ด่าง ก่อนนามาใช้
3. การจัดการบ่อในการเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้า
3.1 มีแผนผังฟาร์ม/บ่อ มีรายละเอียดระบุชื่อฟาร์ม ที่อยู่ ทะเบียนฟาร์ม และทาแผนผังฟาร์มที่ชัดเจนตรงกับการปฏิบัติงานจริง และมีป้ายชื่อฟาร์ม
3.2 มีการแบ่งโซนตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่นบ่อพ่อแม่พันธุ์ บ่อกักกันโรค บ่อเลี้ยง บ่ออนุบาล เป็นต้น โดยดูตามความเหมาะสมในการควบคุมโรคและสะดวกต่อผู้ปฏิบัติงาน
3.3 มีหมายเลขประจาบ่อที่ชัดเจนและถาวรในระบบการเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้า เพื่อประโยชน์ในการจดบันทึก
3.4 ความสะอาดของบ่อเลี้ยงสัตว์น้า
บ่อดิน คันและขอบบ่อไม่มีกองวัสดุโดยรอบและไม่มีวัชพืชขึ้นรก
บ่อปูน ไม่มีรอยร้าวและตะไคร่น้า
ตู้กระจกและถังไฟเบอร์ ต้องสะอาดไม่มีคราบสิ่งสกปรก
4. การจัดการอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
4.1 การฆ่าเชื้อวัสดุอุปกรณ์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้าเช่น สวิง กระชอน กะละมัง เป็นต้น ควรทาความสะอาดหลังการใช้งานด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ด้วยสารเคมีที่เหมาะสม (ภาคผนวก)
4.2* การแยกใช้วัสดุอุปกรณ์
ต้องแยกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในแต่ละโซน หรือบ่อ หากมีปลาป่วยจะต้องแยกชุดการใช้อุปกรณ์จากปลาปกติ
5. การจัดการด้านอาหาร
คุณภาพอาหาร อาหารสาเร็จรูปควรเป็นอาหารที่มีทะเบียนควบคุมโดยกรมประมง อาหารสดมีการเตรียมและใช้หมดไปในแต่ละวัน อาหารมีชีวิตก่อนนามาเลี้ยงสัตว์น้าควรมีการฆ่าเชื้อหรือล้างทาความสะอาดอย่างเหมาะสม
6. การจัดการระบบน้าทิ้ง
การบาบัดน้า มีระบบบาบัดน้าโดยมีบ่อรับน้าทิ้งและมีการฆ่าเชื้อก่อนปล่อยออกสู่แหล่งสาธารณะ ไม่ปล่อยน้าทิ้งจากพื้นที่เพาะเลี้ยง/รวบรวมลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติโดยตรง กรณีเป็นระบบปิดควรมีการฆ่าเชื้อก่อนนากลับมาใช้ใหม่
P-สัตว์น้า สวยงาม (6/10/2553)-3/4
7. การบรรจุสัตว์น้าเพื่อการจาหน่าย หรือการเคลื่อนย้าย
7.1 ความสะอาดและความเป็นระเบียบของสถานที่บรรจุสัตว์น้า ควรแยกจากระบบการเพาะเลี้ยง/รวบรวม ไม่มีน้าท่วมขังและตะไคร่น้าเกาะ มีบ่อพักน้าก่อนการบรรจุโดยเฉพาะ มีการปรับคุณภาพน้าก่อนนามาใช้ และเมื่อใช้งานเสร็จควรทาความสะอาดภาชนะและทาให้แห้งเสมอ
7.2 ความสะอาดของวัสดุบรรจุ เช่น ถุงพลาสติก ขวด กล่องโฟม กล่องกระดาษ และอื่นๆ ควรเป็นวัสดุใหม่เสมอ
7.3* คุณภาพน้าที่ใช้บรรจุสัตว์น้า ต้องเป็นน้าประปาหรือบาดาล ถ้าเป็นน้าธรรมชาติต้องผ่านการตกตะกอนและฆ่าเชื้อ
7.4 ก่อนการบรรจุควรมีการพักสัตว์น้าเพื่อตรวจสุขภาพอย่างน้อย 7 วัน และกาจัดปรสิตภายนอก
8. สุขลักษณะภายในฟาร์ม
8.1 ความสะอาดและความเป็นระเบียบภายในฟาร์ม
สถานที่เพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตว์น้าควรมีความสะอาดเป็นระเบียบพื้นทางเดินต้องแห้งไม่มีน้าท่วมขังและไม่มีตะไคร่น้า
8.2 การกาจัดซากปลาตายและขยะภายในฟาร์ม
มีบริเวณกาจัดขยะมูลฝอยแยกออกเป็นสัดส่วนชัดเจน การกาจัดซากปลาตายโดยมีการฆ่าเชื้อด้วยสารเคมีก่อนนาไปทิ้ง หรือทาลายโดยการเผาหรือฝัง การฝังควรฝังลึกอย่างน้อย 50 ซม.พร้อมโรยด้วยปูนขาว หรือสารเคมีฆ่าเชื้อชนิดอื่น
9. การจัดการระบบการบันทึกข้อมูล
ระบบบันทึกข้อมูลประกอบด้วยการบันทึก การเคลื่อนย้าย การป่วยและตาย การใช้สารเคมีรักษาโรค การใช้สารเคมีบาบัดน้า แหล่งที่มาของอาหาร และกาลังผลิตของฟาร์ม เป็นต้น
ข้อมูลที่บันทึกทั้งหมดต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและเก็บรักษาไว้ไม่ต่ากว่า 2 ปี เพื่อการทวนสอบและนาไปสู่การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9.1* มีบันทึกการเคลื่อนย้ายของสัตว์น้า แหล่งที่มาของสัตว์น้าต้องมาจากฟาร์มที่ขึ้นทะเบียนกับกรมประมงและผ่านการตรวจโรคหรือมีสถานะปลอดโรคเดียวกัน
9.2* มีบันทึกการตายของสัตว์น้าในฟาร์ม สามารถปฏิบัติต่อเนื่องสืบย้อนหลังได้ และเมื่อมีการตาย
ของสัตว์น้าอย่างผิดปกติให้แจ้งกรมประมง
9.3* มีบันทึกสุขภาพสัตว์น้า และการป่วยสัตว์น้า โดยจานวนของสัตว์น้าต้องมีความสัมพันธ์กับบันทึกการเคลื่อนย้ายของสัตว์น้า
9.4* มีบันทึกการใช้ยาและสารเคมีในการฆ่าเชื้อและรักษาโรคปลาป่วยในฟาร์ม
9.5 ฟาร์มควรเก็บรวบรวมเอกสารจากกรมประมงครบถ้วนและเป็นระเบียบสะดวกต่อการตรวจสอบ
9.6 มีบันทึกในการตรวจเยี่ยมของเจ้าหน้าที่กรมประมง
P-สัตว์น้า สวยงาม (6/10/2553)-4/4
9.7 จัดทาคู่มือประจาฟาร์ม ระบุชื่อ ที่อยู่ แผนผังฟาร์ม แนวทางการปฏิบัติงานด้านต่างๆ เช่น การนาปลาเข้า-ออก การเลี้ยงและดูแลปลา การเปลี่ยนถ่ายน้า การบาบัดน้าก่อนใช้และน้าทิ้ง การปฏิบัติเมื่อปลาเป็นโรค การบรรจุเพื่อการขนส่ง เป็นต้น
หมายเหตุ * หมายถึง ข้อที่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ทุกข้อ จึงจะผ่านการตรวจประเมินสุขอนามัยสถานที่
เพาะเลี้ยงสัตว์น้าเพื่อการส่งออก